Speakers

The 10th TIJ Public Forum on the Rule of Law and Development: Resilient Leaders in Action02 December 2021 การประชุมเวทีสาธารณะแบบ Hybrid ณ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย และผ่าน Zoom Application

Kittipong Kittayarak

Kittipong Kittayarak has long been involved in judicial and criminal justice reform in Thailand. He has made substantial contributions to the improvement of the Thai judicial system through his roles in a number of national bodies. He has been known as one of the champions for the reform of the Thai criminal justice system towards due process and the rule of law, and for pioneering the implementation of the restorative justice and community justice programs in Thailand. In the area of peace and reconciliation, Kittipong was actively engaged in the National Reconciliation Committee, which focused its work on conflicts in the deep south of Thailand as well as the Truth for Reconciliation Commission of Thailand (TRCT). After completing his six-year term as the Permanent Secretary for Justice, in February 2015, he assumed a new role as the Executive Director of the Thailand Institute of Justice, a public organization working in the promotion, research and capacity-building activities in accordance with the justice-relates UN standards and norms. Currently, he is a special advisor to Thailand Institute of Justice. He holds J.S.D. from Stanford Law School, LL.M. from Harvard Law School, barrister-at-law from The Thai Bar Association, LL.M. from Cornell Law School, and LL.B. from Chulalongkorn University, Thailand.

Phiset Sa-ardyen

Dr. Phiset Sa-ardyen currently serves as the Executive Director of the Thailand Institute of Justice (TIJ). He was previously the Director of the Information Technology and Communication Center at the Ministry of Justice, Thailand. For the period between 2014-2018 Dr. Sa-ardyen served as the Director of the Office of External Relations and Policy Coordination at the TIJ and was actively involved in the successful efforts by TIJ to become affiliated with the United Nations Crime Programme. Moreover, he oversaw the implementation of key policy directives on digital transformation and cyber security across the Ministry of Justice, including MOJ’s flagship project on big data analytics for recidivism prediction and offender rehabilitation. Dr. Sa-ardyen’s research interests cover a wide range of topics including treatment of offenders, access to justice, and linkage between sustainable development and the operation of the criminal justice system.

ผยง ศรีวณิช

ผยง ศรีวณิช สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ ที่ University of Arizona, Tucson, Arizona ประเทศสหรัฐอเมริกา และระดับปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจที่ University of Pittsburgh, Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา  ผยงมีประสบการณ์ในด้านธุรกิจการเงินการธนาคารมากว่า 20 ปี โดยระหว่างปี 2551-2557 เคยดำรงตำแหน่ง Managing Director, Head of Global Markets & Country Treasurer, Citibank N.A., Thailand และในปี 2558 ได้เริ่มทำงานกับธนาคารกรุงไทยในตำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสายงาน สายงานธุรกิจตลาดเงินตลาดทุน ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงไทย

ดร.พัชชา เจิงกลิ่นจันทร์

ดร.พัชชา เจิงกลิ่นจันทร์จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับปริญญาโทจากสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และระดับปริญญาเอก สาขานโยบายสังคมจากคณะสังคมสงเคราะห์ศาตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นรองคณบดีฝ่ายการนักศึกษาและการเรียนรู้ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก่อนหน้านี้ในปี พ.ศ. 2551 – 2560 เคยดำรงตำแหน่งเป็นนักสังคมสงเคราะห์ ณ สหทัยมูลนิธิ

ดร.พัชชามีผลงานวิจัยและผลงานวิชาการมากมาย อาทิเช่น

  • งานวิจัยเรื่อง “รูปแบบการจัดสวัสดิการแม่วัยรุ่นในสังคมไทย” โครงการรวบรวมข้อมูลชุดสวัสดิการแม่วัยรุ่น ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากมูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง (สคส.)
  • บทความเรื่อง “การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพศวิถี : นวัตกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเชิงวิพากษ์” Designing learning activities for sexuality education: Innovation in adolescent pregnancy prevention by critical thinking. นำเสนอในงานสัมมนาวิชาการสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ปีที่ 64
  • บทความเรื่อง “การค้นหาแนวทางการจัดสวัสดิการสำหรับแม่วัยรุ่นในสังคมสมัยใหม่” Searching for Welfare Provision Guideline of Teenage Mothers in Modern Society นำเสนอในงานสัมมนาวิชาการสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ปีที่ 63

ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์

ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและระดับปริญญาเอก Dottorato in Economia Politica จาก University of Bologna (ITALY)

ผศ.ดร.ธานี เป็นนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม มีความสนใจในเศรษฐศาสตร์เชิงสถาบัน (Institutional Economics) และเศรษฐศาสตร์เชิงทดลอง (Experimental Economics) โดยเฉพาะประเด็นทางด้านค่านิยมและวัฒนธรรม งานวิจัยของ ดร. ธานี เกี่ยวข้องกับเรื่องการออกแบบสถาบัน เศรษฐกิจนอกระบบ คนไร้บ้าน การค้าบริการทางเพศ การวัดบรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms) ผลของสื่อกับการโกง “การแกล้งกันของเด็กนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” และ ผู้ขับเคลื่อนการสร้าง online civic culture ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย

การนำเสนอผลงานของผู้เข้าร่วมหลักสูตร RoLD Program กลุ่ม T

  1. รศ.ดร. สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น – อธิการบดี มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล
  2. พล.ต.ต. นิเวศน์ อาภาวศิน – ผู้บังคับการกองตรวจสอบและวิเคราะห์อาชญากรรมทางเทคโนโลยี สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
  3. ปฐมา จันทรักษ์ – รองประธานกลุ่มอินโดจีนและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด
  4. ดร.ณภัทร จาตุศรีพิทักษ์ – ผู้ก่อตั้งและการผู้จัดการใหญ่ บริษัท สยามเมทริกซ์ คอนซัลติ้ง จำกัด
  5. เลิศรัตน์ รตะนานุกูล – ผู้อำนวยการอาวุโส บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) [ผู้ดำเนินรายการ]

การนำเสนอผลงานของผู้เข้าร่วมหลักสูตร RoLD Program กลุ่ม I

  1. คณพร ฮัทชิสัน – ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เกรย์เอ็นเจ ยูไนเต็ด จำกัด
  2. ณฤดี คริสธานินทร – ประธานเจ้าหน้าบริหาร บริษัท ยูเรก้า โกลบอล จำกัด
  3. สุรเสกข์ ยุทธิวัฒน์ – กรรมการผู้จัดการและผู้ก่อตั้ง บริษัท ทูลมอโร จำกัด
  4. ปิยพล วุฒิวร – ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายกลยุทธ์และการลงทุน บริษัท จีเอเบิล จำกัด

การนำเสนอผลงานของผู้เข้าร่วมหลักสูตร RoLD Program กลุ่ม J

  1. ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล – อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ประธานกรรมการ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย
  2. ดร.สุพจน์ เธียรวุฒิ – ผู้อำนวยการ สำนักพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (DGA)
  3. ดร.พิมพ์รภัช ดุษฎีอิสริยกุล – ผู้จัดการโครงการมูลนิธิฟรีดริช เนามัน เพื่อเสรีภาพ ประเทศไทย
  4. ดร.สันติธธาร เสถียรไทย – นักเศรษฐศาสตร์และผู้บริหาร บริษัทเทคโนโลยีระดับโลก